บทความที่เกี่ยวข้อง
3 สิ่งที่ควรรู้ ถ่ายรูปบัตรประชาชนให้คนอื่นอย่างไรให้ปลอดภัยจากมิจฉาชีพ
ก่อนถ่ายรูปบัตรประชาชนให้คนอื่นมาอ่านบทความนี้ก่อน ส่งบัตรประชาชนให้คนอื่นอย่างไรให้ปลอดภัย หรือหากต้องส่งรูปถ่ายบัตรประชาชนจะต้องปิดอะไรบ้าง ทั้งหมดหาคำตอบได้ที่นี่ !
18/01/23
ทำความรู้จัก Data Fraud ภัยคุกคามทางอินเทอร์เน็ต ที่อยู่ใกล้ตัวคุณมากกว่าที่คิด
ทำความรู้จักกับ Data Fraud พร้อมแนะนำวิธีการรับมือที่ถูกต้อง หากอยากรู้ว่าภัยคุกคามในรูปแบบนี้ คือ อะไร และจะมีวิธีป้องกันและรับมือได้อย่างไร สามารถหาคำตอบได้ในบทความนี้
06/12/22
หากมีผู้ไม่ประสงค์ดีนำรูปของเราไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต จะต้องทำอย่างไร ?
หากมีผู้ไม่ประสงค์ดีนำรูปของเราไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต ไม่ว่าจะด้วยวัตถุประสงค์เพื่อโฆษณาสินค้า หรือว่าเพื่อแอบอ้างเป็นตัวเราจะต้องทำอย่างไร สามารถหาคำตอบได้ในบทความนี้
02/11/22
First Party Data คือ อะไร ? สำคัญอย่างไรต่อการขับเคลื่อนธุรกิจยุคดิจิทัล
ทำความรู้จัก First Party Data คือ อะไร และสำคัญอย่างไรในยุคดิจิทัล ที่ข้อมูลกลายเป็นสิ่งสำคัญในการขับเคลื่อนกลยุทธ์ทางธุรกิจ ทุกคำถามที่คุณสงสัยหาคำตอบได้ในบทความนี้
02/10/22
ไขข้อสงสัย ส่งบัตรประชาชนทางไลน์อันตรายหรือไม่ ? ทำอย่างไรจึงจะปลอดภัยจากมิจฉาชีพ
ส่งบัตรประชาชนทางไลน์อันตรายจริงหรือไม่และต้องทำอย่างไรจึงจะปลอดภัยจากมิจฉาชีพ ทุกคำถามที่คุณอยากรู้ติดตามได้ในบทความนี้
11/09/22
การจัดเก็บข้อมูลมีประโยชน์อย่างไร ต่อการดำเนินธุรกิจในยุคดิจิทัล
สาย Marketing ห้ามพลาด ! มาเรียนรู้กันว่าการจัดเก็บข้อมูลมีประโยชน์อย่างไรในการทำธุรกิจยุคดิจิทัล โดยเฉพาะแบรนด์ที่ต้องการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเพิ่มแต้มต่อการแข่งขันภายในตลาด
21/08/22
Cyber Security และ IT Security คือ อะไร ? สำคัญอย่างไรต่อการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในองค์กรทั้งสองรูปแบบ Cyber Security และ IT Security เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร และทำไมทุกองค์กรจึงควรให้ความสำคัญ ไขทุกข้อสงสัยที่เกิดขึ้นได้ในบทความนี้
25/07/22
ติดกล้องวงจรปิดละเมิดสิทธิส่วนบุคคลตามกฎหมาย PDPA หรือไม่ ?
หากคุณมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการติดตั้งใช้งานกล้องวงจรปิดว่าเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลหรือไม่ ? PDPA Pro พร้อมไขทุกข้อสงสัยให้คุณสามารถเข้าใจได้อย่างง่ายดายในบทความนี้
19/06/22
ทำความเข้าใจพรบ ข้อมูลส่วนบุคคลฉบับประชาชน ทำแบบไหนผิดหรือไม่ผิด PDPA
หมดกังวลเรื่องลงรูปหรือใช้งานข้อมูลบนออนไลน์ยังไงให้ไม่ผิดพรบข้อมูลส่วนบุคคล ด้วยข้อมูลดี ๆ จาก PDPA Pro ที่จะทำให้คุณมั่นใจในงานใช้งานได้มากยิ่งขึ้น
05/06/22
สรุป PDPA คืออะไร ฉบับเข้าใจง่าย พร้อมแนะแนว
PDPA จะไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป อ่านและทำความเข้าใจเรื่องกฎหมายได้ง่าย ๆ จากบทความนี้
31/05/22
DPO คืออะไร ? ตัวช่วยดูแลข้อมูลส่วนบุคคลที่ไว้ใจได้
ไขข้อสงสัยกันให้ดีว่า DPO คืออะไรในการให้ความคุ้มครองดูแลข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มบังคับใช้ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA)
12/05/22
ถึงเวลาแล้วหรือยัง? ที่จะทำ Privacy Policy ให้สอดคล้องกับ PDPA ในปี 2022
ใกล้ถึงเวลาเริ่มบังคับใช้ PDPA เข้ามาทุกที แล้วคุณได้เริ่มต้นทำ Privacy Policy กันหรือยัง? ถ้ายัง PDPA.pro อยากชวนคุณมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องนี้ให้ดีมากยิ่งขึ้น
29/03/22
จัดกิจกรรมแจกของบน Facebook อย่างไรหลัง PDPA บังคับใช้
การจัดกิจกรรมแจกของถือว่าเป็นวิธีการรวบรวมที่อยู่อีเมลใหม่ที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ แต่กฎหมาย PDPA ในปัจจุบันอนุญาตให้ใช้วิธีนี้หรือไม่ ?
17/02/22
ข้อมูลส่วนบุคคลกับขอบเขตความคุ้มครองของการบังคับใช้ PDPA
ข้อมูลส่วนบุคคลคืออะไรตาม PDPA มาทำความเข้าใจให้มากขึ้นพร้อมข้อมูลดีๆ ก่อนที่ผู้ประกอบการหรือเจ้าของธุรกิจจะนำข้อมูลเหล่านั้นไปใช้งาน
01/02/22
Data Processing Agreement (DPA) สำคัญอย่างไร บริษัทจำเป็นต้องมีไหม
เคยสงสัยหรือไม่ว่า Data Processing Agreement (DPA) คือ อะไร ? บริษัทจำเป็นต้องจัดทำเพื่อให้สอดคล้องกับ PDPA หรือไม่ ? หาคำตอบได้ในบทความนี้
26/01/22
Vendor Privacy Policy: ข้อมูลน่ารู้และความจำเป็นที่บริษัทควรมี
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 หรือกฎหมาย PDPA (Privacy Data Protection Act) กำหนดให้ธุรกิจและองค์กรมีฐานะเป็นผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล (Data Controller) ซึ่งมีหน้าที่ต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งในที่นี้อาจเป็นลูกค้า พนักงานในองค์กร หรือคู่ค้า ที่ภาคธุรกิจจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลไว้ และนำข้อมูลส่วนบุคคลที่ขอความยินยอม (Consent) จากเจ้าของข้อมูลไปใช้ โดยอาจใช้วิธีการแจ้งเตือนผ่านเอกสารนโยบายความเป็นส่วนตัว (Privacy Policy) หรือการแจ้งเตือนหน้าเว็บไซต์ (Notice) ตัวอย่างเช่น หากบริษัทประกาศประกวดราคาเพื่อจัดซื้อจัดจ้างผู้ให้บริการด้าน IT ผ่านทางเว็บไซต์ บริษัทก็จำเป็นต้องแจ้งผ่านฟอร์มหรือแจ้งในระบบรับสมัครผู้ให้บริการ IT รายต่างๆ ทราบว่าจะมีการจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ ข้อมูลทางการเงิน ฐานข้อมูลส่วนบุคคลของบริษัทผู้จัดซื้อจัดจ้าง เป็นต้น และแจ้งวัตถุประสงค์การรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้สำหรับกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างเท่านั้น
06/01/22
HR Privacy Policy กับ Recruitment Privacy Policy ต่างกันอย่างไร บริษัทจำเป็นต้องมีไหม พร้อมสิ่งที่ HR ควรรู้
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 หรือกฎหมาย PDPA (Privacy Data Protection Act) กำหนดให้ธุรกิจและองค์กรมีฐานะเป็นผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล (Data Controller) ซึ่งมีหน้าที่ต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ในที่นี้อาจเป็นลูกค้า พนักงานในองค์กร หรือคู่ค้า ที่ภาคธุรกิจจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลไว้ และนำข้อมูลส่วนบุคคลที่ขอความยินยอม (Consent) จากเจ้าของข้อมูลไปใช้ โดยอาจใช้วิธีการแจ้งเตือนผ่านนโยบายความเป็นส่วนตัว (Privacy Policy) หรือการแจ้งเตือนหน้าเว็บไซต์ (Notice) ตัวอย่างเช่น หากองค์กรประกาศรับสมัครพนักงานผ่านเว็บไซต์จัดหางานก็จะต้องแจ้งผ่านฟอร์มหรือแจ้งในระบบรับสมัครให้ผู้สมัครงานที่เป็นเจ้าของข้อมูลทราบว่าจะมีการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ วันเกิด ประวัติการศึกษา และแจ้งวัตถุประสงค์การรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้สำหรับกระบวนการรับสมัครงานเท่านั้น
25/11/21
การจัดการ Cookie Consent กับ Consent ประเภทอื่น ๆ สิ่งที่คนทำ Marketing ควรรู้
การจัดการ Cookie Consent กับ Consent ประเภทอื่น ๆ แตกต่างกันอย่างไร ? คนสายงาน Marketing ห้ามพลาด
22/11/21
รู้หรือไม่? แต่ละบทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องกับ PDPA ต้องทำอะไรบ้าง
การปฏิบัติตาม PDPA คือสิ่งที่ควรทำให้ครบถ้วน PDPA.Pro ได้รวบรวมลิสต์เพื่อตรวจสอบข้อมูลพื้นฐานที่จะทำให้การปฏิบัติตามกฎหมายฉบับนี้กลายเป็นเรื่องง่ายยิ่งกว่าเดิม
07/11/21
นายจ้างต้องรู้ ! เก็บข้อมูลอย่างไรให้ถูกกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
องค์กรธุรกิจต้องรีบเตรียมตัวให้พร้อม เมื่อกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) บังคับใช้ นายจ้างจำเป็นต้องปฏิบัติอย่างไรเพื่อคุ้มครองข้อมูลลูกจ้างอย่างครอบคลุม
19/09/21
Cookie Popup กับ Cookie Policy เรื่องที่คนมักเข้าใจผิด
Cookie Popup กับ Cookie Policy แตกต่างกันอย่างไร หาคำตอบได้จากบทความนี้
02/08/21
เลื่อน !! PDPA กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เริ่มใช้ปี 65 พร้อมแนวทางการรับมือของภาคธุรกิจ
คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเห็นชอบออกพระราชกฤษฎีกา ขยายเวลาบังคับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) ไปอีก 1 ปี โดยจะเริ่มใช้เต็มรูปแบบในวันที่ 1 มิถุนายน 2565 ส่งผลกระทบต่อประชาชนทั่วไปในฐานะเจ้าของข้อมูล (Data Subject) เรามาดูกันว่าภาคธุรกิจในฐานะผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล (Data Controller) จะมีแนวทางการรับมือเรื่องนี้อย่างไรได้บ้าง การเลื่อนในครั้งนี้อาศัยตามอำนาจพระราชกฤษฎีกากำหนดหน่วยงานและกิจการที่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2564 ในส่วนที่กำหนดระยะเวลาใช้บังคับ ทำให้ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฯ จะมีผลใช้บังคับในวันที่ 1 มิถุนายน 2565 คลิกอ่านพระราชกฤษฎีกา
13/05/21
ทำไมการสอน PDPA Awareness นั้นสำคัญกับพนักงานทุกคน
เพราะ PDPA ไม่ใช่เรื่องของใครคนใดคนหนึ่ง การสร้าง PDPA Awareness ใหเกับทุกคนในองค์กรจึงเป็นสิ่งสำคัญ
24/03/21
11 สิ่ง Cyber Security ที่คุณควรรู้สำหรับ PDPA
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลหรือ PDPA มาตรา 37 องค์กรจะต้องมีแนวปฏิบัติที่ดีเพื่อปกป้องรักษาระบบ IT ให้ปลอดภัย โดยมีคำแนะนำสำหรับ cyber security ทั้ง 11 ข้อดังต่อไปนี้
18/03/21
สิ่งที่นายจ้างต้องทำเมื่อกฎหมาย PDPA บังคับใช้
ขั้นตอนที่ต้องทำเมื่อกฎหมาย PDPA บังคับใช้
11/03/21
ทำเว็บไซต์ให้สอดคล้องกฎหมาย PDPA ด้วย Cookie Wow
ทำอย่างไรเว็บไซต์จึงจะสอดคล้องกับกฎหมาย PDPA
27/02/21
5 เรื่องที่ต้องรู้เกี่ยวกับ Email Consent ใน PDPA
เรื่องที่ต้องรู้ เมื่อส่งอีเมลล์ตามฉบับ PDPA
24/02/21
เคลียร์ชัดเรื่อง consent ตาม PDPA
อธิบายรายละเอียดว่าความยินยอมคืออะไร ประเภทของข้อมูลมีอะไรบ้าง
08/02/21
การเก็บข้อมูลลูกค้าต้องคำนึงถึงอะไรบ้าง ตามกฎหมาย PDPA
รายละเอียดการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลไว้ โดยข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่สามารถระบุถึงตัวเจ้าของข้อมูลนั้นได้ อาจเป็นได้ทั้งรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์
04/02/21
เจาะลึกการสร้าง Cookies Consent Banner ที่สอดคล้องตาม PDPA ทำอย่างไร
วิธีการสร้างคุกกี้แบนเนอร์ให้ถูกต้องตาม PDPA ที่ทุกเว็บไซต์ต้องปฏิบัติตาม
02/02/21
ผลกระทบต่อองค์กรที่อาจเกิดขึ้นหากไม่ปฏิบัติตาม PDPA
เมื่อพ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) มีผลบังคับใช้แล้ว แต่หากองค์กรของคุณยังไม่ปฏิบัติตาม PDPA จะเกิดผลกระทบอย่างไรบ้าง และร้ายแรงมากน้อยแค่ไหน?
24/01/21
สิทธิ หน้าที่ และสิ่งที่ผู้ประกอบการต้องรู้เมื่อ PDPA บังคับใช้
‘คุณ’ หรือ ‘ใคร’ คือผู้ที่เกี่ยวข้องในกฎหมาย PDPA กฎหมายที่ให้ความคุ้มครองเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล มีสิทธิและหน้าที่อย่างไร ควรปรับใช้อย่างไรให้เหมาะกับการทำงาน
19/01/21
นักฎหมายกับ SaaS แบบไหนตอบโจทย์การทำ PDPA ตามขั้นตอน ที่สุด?
จะเลือกจ้างนักกฎหมายหรือเลือกใช้แพลตฟอร์ม SaaS กับการร่างนโยบายส่วนบุคคลเพื่อรองรับกฎหมาย PDPA ตามขั้นตอน แบบไหนง่าย สะดวก หาคำตอบได้ที่นี่
17/01/21
อะไรคือ Cookies consent ทำไมเจ้าของเว็บไซต์ต้องมี
เกี่ยวกับ การขอความยินยอมเพื่อจัดเก็บไฟล์คุกกี้และข้อมูลต่างๆ จากผู้ใช้งานเว็บไซต์
11/01/21
Digital marketing ต้องเตรียมรับมือ PDPA อย่างไร
การรับมือข้อมูล วิธีการจัดเก็บข้อมูล ข้อควรระวังในการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลที่อ่อนไหว สำหรับทีม Marketing
29/12/20
ทำความเข้าใจให้ดีเกี่ยวกับ PDPA ว่าสำคัญกับ HR อย่างไร?
เมื่อกฎหมาย PDPA เริ่มบังคับใช้จริง องค์กรต่างๆ ควรเตรียมความพร้อมอย่างไร และเกี่ยวข้องกับฝ่าย HR ในด้านการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลอย่างไรบ้าง
29/12/20
สิทธิของเจ้าของข้อมูล (Data Subject) ตาม PDPA มีอะไรบ้าง และผู้ประกอบการควรเตรียมพร้อมอย่างไร
ด้วยพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่ประเทศไทยเราบังคับใช้มาตั้งแต่ปี 2562 ซึ่งเกี่ยวข้องกับเราทุกภาคส่วน เราจึงต้องรู้สิทธิพื้นฐานของบุคคลที่เกี่ยวข้อง
22/12/20
ถ้า Sensitive Personal Data หลุดไป จะจัดการอย่างไรได้บ้าง
วิธีการจัดการข้อมูลที่หลุด
17/12/20
POWER of DATA: ระบบ PDPA ส่งผลต่อธุรกิจของคุณอย่างไร?
ทำไมต้องจัดเก็บข้อมูลอย่างถูกต้อง การจัดเก็บข้อมูลตาม PDPA ต้องทำอย่างไร
15/12/20
DOs & DON’Ts ออกแบบเว็บไซต์อย่างไรให้สอดคล้อง PDPA
สิ่งที่ควรคำนึงถึงเมื่อออกแบบเว็บไซต์
03/12/20
รับมืออย่างไรเมื่อข้อมูลโดนแฮก? พร้อมแนวทางแก้ไขที่ควรรู้
สิ่งที่ควรทำเมื่อบริษัทหรือตนเองถูกแฮกข้อมูล
24/11/20
ไขข้อสงสัย การรับมือข้อมูลอ่อนไหว (Sensitive Data) กับข้อมูลส่วนบุคคลธรรมดา แตกต่างกันอย่างไร?
การรับมือข้อมูล วิธีการจัดเก็บข้อมูล ข้อควรระวังในการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลที่อ่อนไหว
17/11/20
10 คำศัพท์ที่ควรรู้เกี่ยวกับ PDPA
คำศัพท์ที่คนทำ PDPA ต้องรู้
10/11/20
ถึงเวลาที่ไทยต้องตื่นตัวกับ PDPA วิเคราะห์คดีดังละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลระดับโลก
กรณีที่ข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้งาน Facebook 87 ล้านคน ถูกบริษัทด้านข้อมูลซื้อต่อและนำไปวิเคราะห์แคมเปญสำหรับการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ
04/11/20
3 ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ PDPA ที่คนส่วนใหญ่อาจไม่เคยรู้
อธิบายกฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
27/10/20
Privacy Policy สำคัญอย่างไร? ถ้าไม่มีนโยบายความเป็นส่วนตัว ถือว่าผิดกฎหมายหรือไม่
ถ้าไม่มีนโยบายความเป็นส่วนตัว ถือว่าผิดกฎหมายหรือไม่
20/10/20
เริ่มต้นให้ไว...แล้วไปพร้อมกัน! 10 ขั้นตอน PDPA สำหรับผู้ประกอบการ
10 ขั้นตอนการทำ PDPA สำหรับผู้ประกอบการ เพื่อเตรียมความพร้อม PDPA
13/10/20
สรุป & Checklist เตรียมพร้อม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) เว็บไซต์ธุรกิจของคุณมีครบแล้วหรือยัง
Checklist เตรียมพร้อม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
07/10/20
มาทำความรู้จัก Data Protection by Design & By Default กันดีกว่า
ถ้าจะพูดกันตามตรงแล้ว แนวคิด Data protection by design ถือว่าไม่ใช่เรื่องใหม่อะไรสำหรับคนที่ปฏิบัติงานในกระบวนการทางวิศวกรรมบางสาขาและปฏิบัติเพราะระบบถูกใช้กันโดยแพร่หลาย แต่การที่เรามาให้ความสำคัญกันตอนนี้ก็ด้วยเหตุผลที่ว่าแนวทางที่กล่าวมาได้ถูกบัญญัติไว้ในกฎหมาย GDPR ที่มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 25 พ.ค. 2561 ที่ผ่านมา และนี่จะไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป เพราะประเทศไทยเราได้นำกฎหมายแม่อย่าง GDPR มาประยุกต์ใช้ในชื่อว่า พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลล
21/07/20
พึงระวัง! 5 เทคนิคการแฮกข้อมูลทั่วไปสำหรับปี 2020
เทคนิคการแฮกข้อมูล (Hacking) มีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา และถือเป็นสิ่งสำคัญที่เราจะต้องเตรียมพร้อมรับมือกับภัยคุกคามใหม่ ๆ แฮกเกอร์มักมองหาบางสิ่งจากธุรกิจของคุณซึ่งนั้นก็คือ ข้อมูล หรือ เงิน แต่โดยปกติแล้วทั้งสองอย่างนั้นแหละคือแรงจูงใจหลัก ๆ เนื่องจากการเปิดเผยข้อมูลสำคัญจำนวนมากสามารถช่วยให้พวกเขาเรียกเก็บเงินจากต้นทางได้ ซึ่งผลกระทบด้านชื่อเสียงและค่าใช้จ่ายในการกู้ข้อมูลคืนจากการแฮกเกอร์อาจทำให้บางธุรกิจต้องเลิกกิจการ จึงมาสู่มาตรการป้องกันพื้นฐานที่พวกเราสามารถทำได้ง่าย ๆ นั้นก็คือให้ความรู้แก่พนักงานเกี่ยวกับเทคนิคการแฮกทั่วไปที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อสภาพแวดล้อมขององค์กรของในทุก ๆ ปี การล้วงข้อมูลลับจากการให้กรอกข้อมูลสำคัญ
06/07/20
Data Privacy คืออะไร ทำไมถึงแตกต่างจาก Data Security
ทำความเข้าใจเกี่ยวกับความปลอดภัยของข้อมูลให้ดียิ่งขึ้น พร้อมเข้าใจความหมายและความสำคัญของ Data Privacy และ Data Security ว่าคืออะไร ง่าย ๆ ที่นี่
30/06/20
รวมสิ่งที่ควรรู้สำหรับบทบาทหน้าที่ของ DPO
ทำความรู้จักหน้าที่ของ DPO หรือ Data Protection Officer และความสำคัญของตำแหน่งนี้ภายในองค์กร สำหรับให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในการใช้งาน
21/06/20
คลาย 5 ข้อสงสัยระหว่าง Google Analytics และ PDPA
Google Analytics เป็นเครื่องมือวิเคราะห์การตลาดที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในตอนนี้ เพราะเราไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ และยังช่วยให้เราวิเคราะห์ รวบรวมข้อมูลที่มีค่าเกี่ยวกับพฤติกรรมของผู้ใช้ในเว็บไซต์ได้อีกด้วย อย่างไรก็ตามการรวบรวมข้อมูลการวิเคราะห์ จำเป็นต้องปฏิบัติตามมาตรการ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หรือ PDPA นั้นเอง เมื่อไม่กี่เดือนที่ผ่านมาเราคงเคยได้ยินรายงานข้อผิดพลาดของ Google ที่ไม่สามารถรักษาความเป็นส่วนตัวของผู้ใช้ไว้ได้ เช่น การติดตามตำแหน่งของผู้ใช้โดยปรับเปลี่ยนโฆษณาในเบราว์เซอร์ให้เป็นโหมดไม่ระบุตัวตน และข้อผิดพลาดที่ข้อมูลผู้ใช้จากบัญชี
04/06/20
8 ขั้นตอนการทำ PDPA สิ่งสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม
เพิ่มความมั่นใจให้กับองค์กรกับการจัดเก็บและรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ พร้อมแนวทางการรับมือ PDPA ที่จะเกิดขึ้นให้เหมาะสมกับสถานการณ์
31/05/20
5 คำถามที่ควรถามตัวเองก่อนเริ่มใช้จริงกับ PDPA
คุณรู้หรือไม่ว่าคุณจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคล และข้อมูลที่ละเอียดอ่อนไว้ที่ไหน? PDPA แนะนำแนวคิดใหม่ที่เรียกว่า Privacy by Design ซึ่งเป็นมุมมองในการทำธุรกิจว่าควรออกแบบระบบของตนอย่างไร ที่ให้ความสำคัญกับความเป็นส่วนตัวของข้อมูล ส่วนคำถามแรกที่ควรถามตัวเองเพื่อให้แน่ใจว่าองค์กรของเรานั้นมีการป้องกันที่ถูกวิธีหรือเปล่า ก็คือค้นหาว่ามีข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลละเอียดอ่อนในฐานข้อมูลของเราอยู่ที่ใด องค์กรของคุณมีเจ้าหน้าที่คุ้มครองส่วนบุคคล (DPO) หรือไม่? PDPA ถือเป็นเป็นพ.ร.บ. ด้านข้อมูลที่ค่อนข้างเข้มงวดในปัจจุบัน และได้ระบุถึงหลายบทบาท
28/05/20
ประกาศเลื่อน Personal Data Protection Act ออกไปอีก 1 ปี
เดิมทีพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คุ้มครองส่วนบุคคล พ.ศ. 2561 จะถูกบังคับใช้วันที่ 27 พ.ค. 2563 อย่างที่เราทราบตาม ๆ กัน แต่เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2563 ที่ผ่านมา ได้มีกาศเลื่อนผลการบังคับใช้ออกไปอีก 1 ปีโดย
21/05/20
การบันทึก และแชร์ภาพบุคคล ถือว่าผิด PDPA หรือไม่?
หลายคนอาจสงสัยว่าภาพถ่ายถือเป็นข้อมูลส่วนบุคคลหรือไม่ ต้องบอกเลยค่ะว่าส่วนมากถือว่าใช่ ซึ่งบทความนี้ตั้งใจมอบให้ผู้ที่ชื่นชอบการถ่ายรูป มีวิชาชีพการถ่ายภาพและสื่อต่าง ๆ หรือบุคคลทั่วไปได้เข้าใจถึง PDPA (Personal Data Protection) พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 มากขึ้น การถ่ายภาพ หรือ การบันทึกภาพเคลื่อนไหวนั้นสามารถแบ่งเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆไว้ด้วยกัน
21/05/20
สรุป GDPR กับ PDPA เหมือนกันจริงหรือไม่?
ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ GDPR กับ PDPA แม้จะคล้ายคลึงกัน แต่ก็มีความแตกต่างกันในแง่ของการบังคับใช้กับบุคคล และบทกำหนดโทษ อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่
14/05/20
ความสัมพันธ์ระหว่าง PDPA กับ ISO27001
เรามาดูกันดีกว่าว่าใน 5 ปีที่ผ่านมามีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นบ้าง ในบทความนี้เราจะมาพูดถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ISO/IEC 27001 และ พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ถึงแม้ว่าจะเป็นสองสิ่งที่แต่งตากกัน แต่ก็มีเป้าหมายที่มุ่งเน้นร่วมกันในการดำเนินการและจัดเก็บข้อมูลที่สำคัญและข้อมูลที่เป็นความลับ ดังนั้นการดำเนินการตามกรอบการทำงานที่ครอบคลุมของ ISO/IEC 27001 จะนำไปสู่การปฏิบัติตามของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เนื่องจากข้อกำหนดของพ.ร.บ ฉบับนี้มีอยู่ภายใต้มาตรฐาน ISO/IEC
14/05/20
PDPA ข่าว และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น พร้อมขั้นตอนเตรียมรับมือ
PDPA ข่าว และเหตุการณ์ละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลที่เกิดขึ้น มิถุนายน 2560. ข้อมูลส่วนบุคคลขอลผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งของสหรัฐฯ จำนวน 200 ล้านคน ที่ Deep Root Analytics จัดเก็บ รั่วไหล เนื่องจากไม่มีการตั้งรหัสที่ดี
07/05/20
อะไรบ้างที่ถือเป็นข้อยกเว้นของกฎหมาย PDPA
ข้อยกเว้น PDPA หลังจากได้ทำความรู้จักกับ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 2562 หรือ PDPA กันมาบ้างแล้ว เรามาดูข้อยกเว้น PDPA กันเถอะว่าอะไรบ้างที่เป็นข้อยกเว้นที่ชอบด้วยกฎหมาย และทำให้การเก็บข้อมูลไม่ต้องได้รับความยินยอม มีด้วยกัน 6 ข้อหลักๆดังนี้: ✔ ยกเว้น หากเป็นงานศึกษาวิจัย หรือ บันทึกทางประวัติศาสตร์ ✔
06/05/20
PDPA ประเทศไทยมีที่มาจากไหน? แล้วโทษของมันล่ะ ?
PDPA ประเทศไทย อย่างที่เกิ่นกันไปในหลายๆบทความว่าตัวกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล นั้นคืออะไร บังคับใช้เมื่อไหร่ และองค์กรจะรับมือยังไงดี ว่าแต่เจ้ากฎหมายนี้มีที่มาจากไหนล่ะ PDPA ประเทศไทยได้รับแรงบันดาลใจมาจาก GDPR ซึ่งเป็นกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฉบับแรกของโลกจากสหภาพยุโรปกฎหมาย GDPR ยึดตามหลักการ Privacy by Design หรือหมายถึง ฝ่ายผู้ควบคุมข้อมูลต้องคำนึงถึงสิทธิความเป็นส่วนตัวของเจ้าของข้อมูลตั้งแต่ขั้นออกแบบ คงไว้ตลอดกระบวนการที่ตามมา ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้ได้ทั้งในบริบทของการพัฒนาระบบ ผลิตภัณฑ์
30/04/20
การรับคำขอจากเจ้าของข้อมูลในกฎหมาย PDPA
ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (หรือ PDPA) ได้ระบุให้ผู้เก็บข้อมูล (Data Controller) นั้นต้องมีหน้าที่ในการตอบสนองสิทธิของเจ้าของข้อมูล (Data Subject) โดยมีสิทธิที่น่าสนใจตามตัวอย่างนี้: สิทธิในการแก้ไขข้อมูล สิทธิในการขอรับข้อมูล สิทธิในการถอนความยินยอม สิทธิในการขอระงับการใช้ข้อมูล สิทธิในการให้โอนย้ายข้อมูลส่วนบุคคล สิทธิในการเข้าถึง ขอสำเนา
30/04/20
PDPA เกี่ยวข้องอย่างไรกับแผนก HR
ข้อมูลพนักงานในองค์กรบริษัทถือเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องเก็บรักษา PDPA ในงาน HR จำเป็นที่จะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดเพื่อป้องกันข้อมูลส่วนบุคคลต่าง ๆ เอาไว้อย่างดี
29/04/20
PDPA คืออะไร เจ้าของข้อมูลสามารถใช้สิทธิอะไรได้บ้าง
PDPA คือสิ่งที่จะเข้ามาคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อป้องกันการถูกละเมิด ทำความรู้จักในฐานะเจ้าของสิทธิเพื่อรักษาความเป็นส่วนตัว
27/04/20
PDPA กับองค์กรในปัจจุบัน
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 หรือเรียกสั้น ๆ ว่า PDPA จะมีผลกับทุกองค์กรทั่วโลกที่เก็บข้อมูลของคนไทย จึงทำให้หลายองค์กรควรเตรียมรับมือก่อนวันที่ 27 พ.ค. 2563 ที่จะถูกบังคับใช้อย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งหมายความว่าไม่ว่าจะองค์กรไหนก็ตาม ไม่สามารละเลยกับเรื่องนี้ไปได้ หากสงสัยว่าพรบ.นี้ปรับใช้กับองค์กรของคุณหรือไม่ ให้ใช้ 3 ข้อนี้เป็นบรรทัดฐาน ✔
27/04/20
บริษัท เอ็นเดต้าธอธ จำกัด
7 อาคารซัมเมอร์ พอยท์ ชั้นที่ 2 ซอยสุขุมวิท 69
แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 ประเทศไทย
โทร: 02-024-5560
sales@ndatathoth.com